วร พจน์ บุญ ช่วยเหลือ

centromedica.net

ภาวะ หมด ไฟ ใน การ ทำงาน

Sat, 08 Oct 2022 20:10:58 +0000

เช็คอาการ คุณ "เข้าข่ายภาวะหมดไฟ (Burnout)" ในการทำงานหรือยัง? สถานการณ์ในปัจจุบัน ทำเอาหลายๆ คนที่ทำงานต้องวิตกกังวล ว่าจะมีงานทำต่อหรือไม่ หรือต้องพักงานยาวเพราะสภาพเศรษฐกิจที่ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งแน่นอนว่าช่วงนี้หลายคนในวัยทำงานอาจมีความทุกข์หลายอย่างเกิดขึ้นในชีวิต เช่น เครียด หดหู่ ขาดแรงจูงใจในการทำงาน ร่างกายอ่อนแรง ไม่มีสมาธิ ฯลฯ จนทำให้เกิดความกังวลว่าตัวเองมีอาการเข้าข่ายโรคซึมเศร้าหรือเปล่า!

  1. Burnout หมดไฟในการทำงาน จัดการอย่างไรดี ? - พบแพทย์
  2. สัญญาณเตือน! อาการ Burn out ภาวะหมดไฟในการทำงาน รับมือยังไงดี?
  3. รู้จักภาวะหมดไฟและหมดใจในการทำงาน ความสำคัญและข้อแตกต่างที่น่ารู้

Burnout หมดไฟในการทำงาน จัดการอย่างไรดี ? - พบแพทย์

สัญญาณเตือน! อาการ Burn out ภาวะหมดไฟในการทำงาน รับมือยังไงดี?

  • ราคา avanza touring videos
  • Scg heim รีวิว stock
  • Burnout Syndrome ไม่ใช่โรคซึมเศร้า แต่เป็นภาวะหมดไฟในงาน ที่ทำให้คุณหมดใจ คล้ายๆ จะหมดแรง – THE STANDARD
  • วิกฤต "ภาวะหมดไฟ" คุกคามที่ทำงานในยุคหลังโควิด
  • รู้จักกับสภาวะหมดไฟ (Burnout) คุณกำลังมีอาการเหล่านี้อยู่หรือไม่?
  • Clash of clans แคลน 2
  • WHO ประกาศภาวะหมดไฟเป็นความผิดปกติ

รู้จักภาวะหมดไฟและหมดใจในการทำงาน ความสำคัญและข้อแตกต่างที่น่ารู้

โปรแกรม ขยาย ภาพ

กฎระเบียบในองค์กรที่จุกจิก และไม่เป็นธรรม แม้การอยู่ร่วมกันในสังคมจะต้องการกฎเพื่อรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย แต่กฎที่จุกจิกและไม่มีความยืดหยุ่นจะทำให้พนักงานกดดัน รู้สึกโดนควบคุมมากเกินไป และเกิดความอึดอัดใจได้ รวมถึงความไม่เป็นธรรม อย่างการยืดหยุ่นกฎระเบียบให้กับคนบางกลุ่ม ซึ่งความไม่ยุติธรรมนี้ เป็นตัวสร้างอคติและความบาดหมางชั้นดีในองค์กร 2. ทำได้มากกว่า แต่ผลตอบแทนเสมอกัน สาเหตุหลักที่ทำให้คนเก่งๆ ทยอยออกจากองค์กร คือ การไม่ได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่า แถมยังได้พอๆ กับคนที่ทำงานแบบขอไปที สิ่งนี้จะทำให้พนักงานรู้สึกว่า แล้วจะทำดีไปทำไม? นอกจากจะได้ผลตอบแทนเท่าๆ กันแล้ว บางบริษัทยังไม่มีการลงโทษ ตักเตือน หรือจัดการกับคนเหล่านั้น บวกกับคนที่ตั้งใจทำงาน ก็ไม่เคยได้รับรางวัล ปันผล หรือคำชมใดๆ หากเป็นแบบนี้ต่อไปเรื่อยๆ พนักงานที่ตั้งใจทำงานอาจเริ่มหมดใจ และเริ่มมองหาองค์กรใหม่ที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากับการลงแรงมากกว่า 3. หัวหน้างานเอาแต่ใจ ไม่เข้าใจความเป็นมนุษย์ หลายๆ องค์กรที่พนักงานลาออกบ่อยๆ ส่วนหนึ่งมาจากความเอาแต่ใจของหัวหน้า ไม่เปิดรับความเห็นต่าง ไม่ฟังเหตุผล ขาดความเห็นใจ ไม่ยอมรับผิด เอาแน่เอานอนไม่ได้ ลำเอียง และอีกมากมาย พนักงานหลายคนจึงไม่อยากไปรองรับอารมณ์ และพลังงานลบๆ อีกต่อไป 4.

centromedica.net, 2024