วร พจน์ บุญ ช่วยเหลือ

centromedica.net

พระ รอด ขาว

Sat, 08 Oct 2022 19:04:36 +0000
๒๔๖๔) สมัยนั้น พระรอดมหาวัน รุ่นเก่า ยังไม่มีราคาค่างวดอะไร การสร้างพระของสามเณรกองแก้ว น่าจะมีเจตนาเพื่อบูรณะพระรอด และพระลำพูนพิมพ์อื่นๆ ที่แตกหักชำรุดเสียหาย เป็นจำนวนมาก เล่ากันว่า วางอยู่บริเวณโคนต้นไม้ในวัดเต็มไปหมด มากกว่าที่จะตั้งใจปลอมแปลงพระรอดรุ่นเก่า" จากบันทึกของ "ตรียัมปวาย" และ อ. สันต์ ตาบุรี อาจกล่าวได้ว่า พระรอดครูบากองแก้ว มีการสร้าง ๒ ครั้ง ครั้งแรก สมัยเป็นสามเณร ประมาณ (พ. ๒๔๖๔) ครั้งที่สอง สมัยเป็นรองเจ้าอาวาส พ.

พระรอดพิมพ์ใหญ่กรุวัดมหาวันพุทธคุณที่มีค่านิยม'๑๐ล้าน++'

<--กลับไปหน้าแรก » กลับหมวด:พระรอด » พิมพ์ใหญ่ [ ขาย] พระรอดขาว หายากสุดๆ Sponsor ข้อมูลย่อๆ ผู้ขาย ราคา: 1, 5xx, xxx ฿ เบอร์ติดต่อ: 0888066656 สถานะ: สมาชิก ยังไม่ได้ส่งหลักฐาน ค้นหา รายละเอียด และข้อมูลอื่นๆ โทรฯ! โปรดตรวจสอบข้อมูลผู้ขายให้ละเอียด หากสะดวกแนะนำ นัดดูด้วยตนเอง เช็คประวัติ ดู(Verify Seller)(ห้ามมัดจำทุกกรณี! ) รายละเอียดผู้ขาย ความต้องการ: ต้องการขาย อับเดทล่าสุด: 24 มี. ค. 2555 ราคา: 1, 5xx, xxx สถานะ EMS: [] ตรวจสอบ สถานะ สมาชิก: สมาชิก (ยังไม่ได้ส่งหลักฐาน) เจ้าของประกาศ: domray2000 หน้าร้านค้า: ที่อยู่: เชียงไหม่ จังหวัด: เชียงใหม่ <--(กดดูได้ครับ) อีเมล์: เข้าชม: 2458 ครั้ง ไอพี: 223. 206. 226. 41 Copyright 2013, All Rights Reserved. by พระเครื่อง, ศูนย์พระเครื่อง, ตลาดพระ, ขายพระ, ตลาดพระเครื่อง, ขายพระเครื่อง, ฝากพระเครื่อง, ประมูลพระเครื่อง, ตลาดออนไลน์! Online: 72 user(s)

พระ รอด ขาว แปล

สร้างประมาณ พ. ศ.

พระรอด กรุวัดมหาวัน จ. ลำพูน ถือว่าเป็น ๑ ในพระชุด "เบญจภาคี" หมายถึง พระเครื่องชุดหนึ่งประกอบด้วยพระจำนวน ๕ องค์ โดยมีพระสมเด็จวัดระฆังโฆสิตาราม เป็นองค์ประธาน พระนางพญา กรุวัดนางพญา จ. พิษณุโลก, พระผงสุพรรณ จ. สุพรรณบุรี, พระลีลา จ. กำแพงเพชร และพระรอด กรุวัดมหาวัน จ. ลำพูน แต่เนื่องจากพระกำแพงลีลาหาได้ยากมากขึ้น จึงได้พระกำแพงซุ้มกอ จ. กำแพงเพชร มาแทน ผู้ที่จัดพระชุดเบญจภาคีคือ "ตรียัมปวาย" นี้เองที่ได้จัดทำทำเนียบชุดพระเครื่อง "เบญจภาคี" ขึ้นเมื่อปี ๒๔๙๕ อย่างไรก็ตาม เมื่อแรกเริ่มยังคงเป็นเพียง "ไตรภาคี" คือมีเพียง ๓ องค์เท่านั้น อันประกอบด้วย พระสมเด็จวัดระฆัง เป็นองค์ประธาน ซ้าย-ขวา เป็นพระนางพญา (พิษณุโลก) และพระรอด (ลำพูน) หลังจากนั้นไม่นานจึงได้ผนวก "พระซุ้มกอ" (กำแพงเพชร) และ "พระผงสุพรรณ" (สุพรรณบุรี) พระรอด กรุวัดมหาวัน จ. ลำพูน มีการแบ่งแยกเป็นพิมพ์ต่างๆ ซึ่งมีทั้งพิมพ์ใหญ่ พิมพ์กลาง พิมพ์เล็ก พิมพ์ต้อ และพิมพ์ตื้น ซึ่งในแต่ละพิมพ์นั้น ก็ยังอาจจะมีแม่พิมพ์หลายอัน โดยอาจจะมีส่วนผสมของเนื้อที่แตกต่างกันไปบ้าง หรืออาจจะได้รับไฟเผาในจุดอุณหภูมิที่ไม่เท่ากัน ตลอดจนถึงการกดพิมพ์ในแต่ละครั้งด้วย จึงทำให้พระรอดแต่ละองค์จึงมีลักษณะของสี ขนาด หรือรายละเอียดของพิมพ์ทรงในบางจุด ที่ดูต่างกันไป แต่จุดที่สำคัญคือต้องดูศิลป์โดยองค์รวมบวกกับความเก่าของเนื้อพระ ที่ถึงยุคสมัยทวารวดี วัดมหาวันวนาราม ตั้งอยู่ใกล้คูเมือง ด้านทิศตะวันตก ถ.

พระรอดเกษาครูบาเจ้า ครูบาขาวปีหลังยันต์ห่วงเดิม | ENNXO

  • พระ รอด ขาว ภาษาอังกฤษ
  • หลวงปู่ทวด พิมพ์2497 ย้อนยุค เนื้อว่านคลุกรัก วัดทรายขาว จ.ปัตตานี | หลวงปู่ทวด.org
  • พระรอดละโว้ หลวงพ่อเดิม เนื้อขาว (ขายแล้ว)
  • พระ รอด ขาว คําไวพจน์
  • Oppo a37 ใน 7 11 2018
  • พระ รอด ขาว 1/2 ราคา
  • ระบบ evaporative cooling system in greenhouse
  • พระ รอด ขาว แปล
  • พระ รอด ขาว เต็มเรื่อง

ยินดีต้อนรับสู่ เว็บไซต์พระเครื่องที่ทันสมัยที่สุดในประเทศไทย ระบบค้นพบว่าคุณพึ่งเคยเข้า เป็นครั้งแรก ข้อควรรู้เกี่ยวกับ คุณสามารถ: เปิดร้านค้าของคุณเอง ฟรี ตั้งประมูล ฟรี ร่วมประมูล ฟรี เว็บบอร์ด พูดคุยกับเพื่อนฝูงในวงการพระเครื่อง ฟรี ระบบซื้อขายอย่างปลอดภัย ฟรี เผยแพร่ หรือ อ่านบทความพระเครื่อง ฟรี ระบบทำเนียบพระเครื่อง มีปัญหาข้อสงสัยติดต่อ หมายเหตุ: คุณควรบันทึกรายการโปรดไว้ เพื่อเข้ามาใช้บริการในภายหลัง

พระรอดผงสีดำ ผสมจากผงใบลาน ที่จารึกพระมหาคัมภีร์ นำมาเผาให้ดำ มีพุทธคุณในทางอยู่ยงคงกระพันชาตรีไม่เป็นอันตรายต่อศัสตราวุธทุกชนิด ๒. พระรอดผงสีเขียว เนื้อองค์พระเป็นวัสดุอาถรรพณ์ ที่มีส่วนผสมของว่านป่านับได้พันชนิด มีคุณานุภาพในทางป้องกันภยันตรายจากป่าดง เหมาะสมพรานไพรหรือผู้ชอบท่องไพร ๓. พระรอดสีแดง เป็นเนื้อวัสดุอาถรรพณ์ที่สร้างคุลีการด้วยแร่อันศักดิ์สิทธิ์ ทรงคุณวิเศษในทางกำบังพรางตาผู้คิดร้ายมิให้สังเกตเห็นเรา ๔. พระรอดผงสีเหลือง องค์พระพุทธสีเหลืองเรื่อพิกุล ด้วยการสร้างได้ใช้ผงวิเศษคุลี การด้วยเกษรและดอกบัว และดอกไม้ ๑, ๐๐๐ ชนิด ในหิมวันต์ มีอิทธิพลให้คุณใน ทางสร้างเสริมเสน่ห์มหานิยมสารพัดอย่าง นอกจากนั้นยังเป็นผลปราบผู้คิดร้าย และบันดาลให้แคล้วคลาดจากภัยพิบัติทั้งปวง ๕. พระรอดสีขาว จากการผสมผงพุทธคุณล้วนๆ มีวัสดุอาถรรพณ์คลุกเคล้าเป็นส่วนน้อย มีคุณานุคุณในทางก่อให้เกิดความรักใคร่ เมตตาจิต แม้จะเป็นศัตรู ที่กำลังคิดร้ายก็ทำให้เกิดใจอ่อนเมื่อได้เห็น รวมทั้งเพศตรงข้ามด้วย ท่านว่าขลังนัก ที่กล่าวมานี้เป็นทฤษฎีและความเชื่อที่เผยแพร่ในวงการพระเครื่องในยุค พ.

2435-2445 สมัยเจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ซึ่งได้ปฏิสังขรณ์องค์เจดีย์ขึ้นใหม่ ทำให้ได้พบพระรอดจำนวนมากมายภายใต้ซากเจดีย์เก่า – ประมาณ พ. 2451 สมัยเจ้าหลวงอินทิยงยศ เห็นว่ามีต้นโพธิ์ขึ้นแทรกบริเวณฐานพระเจดีย์มหาวัน และมีรากชอนลึกทำให้พระเจดีย์มีรอยร้าวหลายแห่ง จึงให้ช่างรื้อฐานและปฏิสังขรณ์ใหม่ พบพระรอดจำนวน 1 กระเช้าบาตร (ตะกร้าบรรจุกับข้าวตักบาตร) จึงนำแจกจ่ายบรรดาญาติวงศ์เจ้าลำพูน เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ (บุตร) เมื่อสมัยนั้นยังหนุ่ม ก็ได้พระรอดไปเป็นจำนวนมาก – พ. 2497 ปฏิสังขรณ์วิหารเมื่อวันที่ 5 ก. พ. 2497 พบพระรอดไม่กี่องค์ แต่พบพระคง พระบาง พระสาม พระสิบสอง และพระรอดหลวงด้วย – พ. 2498 ปฏิสังขรณ์กุฏิเจ้าอาวาสในสมัยนั้น ในการขุดเพื่อลงรากฐานก่อสร้าง พบพระรอดกว่า 200 องค์ แทบทุกองค์เป็นพระที่งามและเนื้อจัด มีหลายพิมพ์ทรง ต่อจากนั้นหลัง พ.

แม่พิมพ์ - มี ๕ พิมพ์ด้วยกัน คือ พิมพ์ใหญ่ กลาง เล็ก ต้อ ตื้น ความเชื่อในคุณวิเศษของ "พระรอด" กรุวัดมหาวัน จ. ลำพูน เรื่องแคล้วคลาดจากภัยอันตรายทั้งปวง เช่นเดียวกับ พระคง ที่เชื่อว่าอยู่ยงคงกระพัน เป็นวัฒนธรรมความเชื่อของคนท้องถิ่นมานานกว่าร้อยปี ตั้งแต่การขุดพบพระรอดครั้งแรก สมัยพระเจ้าหลวงเหมพินธุไพจิตร ในการบูรณะเจดีย์วัดมหาวัน เมื่อ พ. ศ. ๒๔๓๕ จนเกิดความนิยมเช่าหากันในวงกว้าง ทำให้ราคาการซื้อขายขึ้นสู่หลักแสนหลักล้านในทุกวันนี้ สุดวิสัยที่ชาวบ้านทั่วไปจะหามาครอบครองได้ จึงต้องมองหา พระรอด ที่สร้างขึ้นในยุคหลังมาใช้ทดแทน โดยเฉพาะรุ่นที่สร้างขึ้นในวัดมหาวัน ซึ่งเป็นแหล่งขุดพบ พระรอด องค์ต้นแบบ การสร้างพระรอดยุคหลังของวัดมหาวัน มีมาร่วมร้อยปี เช่น พระรอดแขนติ่ง พระรอดครูบากองแก้ว พระรอดน้ำต้น มาจนถึง พระรอด วัดพระสิงห์ พ. ๒๔๙๖ พระรอด วัดชัยพระเกียรติ พ. ๒๔๙๗ ฯลฯ ล้วนได้รับความนิยมอย่างกว้างขวาง แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพระรอดที่มีต่อคนล้านนาเป็นอย่างดี ความจริงแล้ว พระรอดครูบากองแก้ว หรือ พระรอดบากองแก้ว เป็นที่รู้จักและนิยมกันมานานแล้ว เช่นเดียวกับ พระรอดแขนติ่ง และ พระรอดน้ำต้น ซึ่งมีบันทึกประวัติการสร้าง จากหนังสือ "ปริอรรถาธิบายพระรอด" ของ "ตรียัมปวาย" พิมพ์ พ.

centromedica.net, 2024