วร พจน์ บุญ ช่วยเหลือ

centromedica.net

ปาง ผจญ มาร

Tue, 11 Oct 2022 03:32:06 +0000

ท่านจงมีศรัทธา อย่าได้อาลัยในชีวิต อันเครื่องไทยทานของท่านมีประการใด ท่านจงกระทำจิตให้เลื่อมใสในตถาคตเถิด" โพธิเสนาบดีได้สดับพระพุทธฎีกาแล้ว ก็บังเกิดความเลื่อมใสสุดหัวใจ จึงนำห่อภัตตาหารทั้งของตนกับภรรยาอัญชลีน้อมเกล้าเข้าถวายแด่องค์พระกัสสปะสัพพัญญูเจ้า โดยคารวะเลื่อมใสอย่างสุดซึ้ง แล้วจึงตั้งปณิธานว่า"ข้าแต่พระองค์ผู้เป็นที่พึ่งแก่สรรพสัตว์ทั้งปวง! ชีวิตของข้าพระบาทก็ได้สละแล้วในครั้งนี้ ด้วยเดชะผลทานนี้จงเป็นปัจจัยให้ข้าพระบาทได้ตรัส(รู้)เป็นพระพุทธเจ้าเช่นเดียวกับพระองค์ ในอนาคตกาลโน้นเถิด" สมเด็จพระกัสสปะพุทธเจ้า ทรงมีพระมหากรุณายกพระหัตถ์ขึ้นลูบศีรษะท่านเสนาบดี แล้วทรพยากรณ์ว่า "ท่านปรารถนาสิ่งใด ความปรารถนาของท่านจงพลันสำเร็จเถิด….. ดูกรท่านเสนาบดี! ท่านจงตั้งมั่นไว้ในใจด้วยดีเถิด ในอนาคตเบื้องหน้าโน้น ท่านจักได้อุบัติเกิดเป็พระพุทธเจ้า ได้ตรัส(รู้)แก่พระปรมาภิกเษกสัมโพธิญาณพระองค์หนึ่ง" เวียนว่ายตายเกิดในวัฏสงสารช้านานนักหนา มาในชาตินี้บังเกิดเป็นเจ้าแห่งหมู่มาร(มีอายุเก้าร้อยยี่สิบเอ็ดโกฏิหกล้านปี) ในชั้นปรนิมมิตวสวัตตีด้วยอำนาจบุญนำกรรมแต่ง (แต่)เพราะยังอยู่ในห้วงแห่งกิเลสเหตุยังเป็นปุถุชน จึงเกิดความเห็นสับสนวิปริต มีจิตคิดแข่งดีใคร่ทดลองบารมีสมเด็จพระบรมศาสดาสมณโคดมของเรา เฝ้าตามประจญด้วยประการต่างๆ แต่มิได้ล่วงเกินทำบาปหนักประการใด สุดท้ายภายหลังมีความเศร้าเสียใจอย่างหนัก ถึงกับออกปากเอ่ยความปรารถนาพุทธภูมิซ้ำอีกครั้งหนึ่ง.

Phatcharin | พุทธประวัติ ตอน การผจญมาร

ที่ อยู่ โรบินสัน ลพบุรี

พระประธานยืน ๑ เดียวในพระอุโบสถ "วัดเครือวัลย์ฯ"

ปางทุกกรกิริยา ๒. ปางรับมธุปายาส ๓. ปางลอยถาด ๔. ปางทรงรับหญ้าคา ๕. ปางมารวิชัย ๖. ปางสมาธิ ๗. ปางถวายเนตร ๘. ปางจงกรมแก้ว ๙. ปางประสานบาตร ๑๐. ปางฉันสมอ ๑๑. ปางลีลา ๑๒. ปางประทานเอหิภิกษุอุปสมบท ๑๓. ปางปลงกรรมฐาน ๑๔. ปางห้ามสมุทร ๑๕. ปางอุ้มบาตร ๑๖. ปางภุตตกิจ ๑๗. ปางพระเกตุธาตุ ๑๘. ปางเสด็จลงเรือขนาน ๑๙. ปางห้ามญาติ ๒๐. ปางพระป่าเลไลยก์ ๒๑. ปางห้ามพระแก่นจันทน์ ๒๒. ปางนาคาวโลก ๒๓. ปางปลงพระชนม์ ๒๔. ปางรับอุทกัง ๒๕. ปางพระสรงน้ำ ๒๖. ปางยืน ๒๗. ปางคันธารราฐ ๒๘. ปางพระรำพึง ๒๙. ปางสมาธิเพชร ๓๐. ปางแสดงชราธรรม ๓๑. ปางประดิษฐานพระพุทธบาท ๓๒. ปางสำแดงโอฬาริกนิมิต ๓๓. ปางรับผลมะม่วง ๓๔. ปางขับพระวักกลิ ๓๕. ปางไสยา ๓๖. ปางฉันมธุปายาส ๓๗. ปางห้ามมาร ๓๘. ปางสนเข็ม ๓๙. ปางทรงตั้งพระอัครสาวก ๔๐. ปางเปิดโลก การแสดงปางที่กำหนดขึ้นนั้น ทุกๆ ปาง ล้วนแต่มีความหมายเพื่อเล่าถึงพุทธประวัติ ในตอนนั้น จึงขอยกตัวอย่างลักษณะปางที่สำคัญของพระพุทธรูป พร้อมทั้งความหมายที่เกี่ยวข้องดังนี้ คือ ๑. ปางมารวิชัย พระอิริยาบถนั่งพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระเพลา พระหัตถ์ขวา วางคว่ำบนพระชานุ นิ้วพระหัตถ์ชี้ เพื่อเรียกแม่พระธรณี หมายถึง พุทธประวัติตอนตรัสรู้ มีพญามารมาผจญ พระพุทธองค์ทรงเรียกแม่พระธรณีมาเป็นพยาน แม่พระธรณีได้บีบมวยผม หลั่งน้ำที่พระพุทธองค์เคยทรงบำเพ็ญบารมีออกมาไหลท่วมเหล่ามารทั้งหลายพ่ายแพ้ไป พระพุทธรูปปางมารวิชัยเป็นปางที่พบมากที่สุดในศิลปกรรมไทย โดยเฉพาะในสมัยสุโขทัย ล้านนา อู่ทอง อยุธยา จนถึง รัตนโกสินทร์ นอกจากนี้ พุทธประวัติตอนมารผจญยังเป็นที่นิยมในงานจิตรกรรมฝาผนัง เขียนที่ผนังสกัดด้านหน้าพระอุโบสถ ในสมัยอยุธยาตอนปลาย จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๓ แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ ๒.

G-Pra.com: ประมูลพระเครื่องการันตีพระ.คอม

พุทธศาสนศึกษา – พุทธประวัติ ตอน การผจญมาร

  1. ระบบ cyber security คือ
  2. ใบชาสามม้า บรรจุภัณฑ์ » ปทุมธานี
  3. S300 bluetec hybrid ปัญหา
  4. Aston martin db5 ราคา
  5. ขาย อะไหล่ toyota
  6. Basket – ตลาดสดออนไลน์
  7. สัญญาณไฟเตือนบนหน้าปัดรถยนต์ (ตอนที่2) - SMK BLOG
  8. Phatcharin | พุทธประวัติ ตอน การผจญมาร
  9. ซ่อม กล้อง ถ่ายรูป
  10. กรมศิลปากร พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อู่ทอง สุพรรณบุรี
  11. G-Pra.com: ประมูลพระเครื่องการันตีพระ.คอม
  12. ร้าน กู ชา ชัก

เหตุการณ์พระพุทธเจ้าผจญมาร ไ... | ดูวิธีการแก้ปัญหาได้ที่ QANDA

ปางสมาธิ พระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ทั้ง ๒ วางหงายซ้อนกันบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาวางบนพระหัตถ์ซ้าย หมายถึง พุทธประวัติตอนตรัสรู้ พระพุทธองค์ทรงบำเพ็ญเพียรด้วยปางสมาธิ เมื่อมีมารมาผจญ พระพุทธองค์ทรงแสดงปางมารวิชัยเพื่อปราบมาร เสร็จแล้วจึงเปลี่ยนมาแสดงปางสมาธิอีกครั้งหนึ่ง จนตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ๓. ปางปฐมเทศนา พระอิริยาบถนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวายกขึ้น จีบนิ้วพระหัตถ์ พระอังคุฐ (นิ้วโป้ง) และพระดัชนี (นิ้วชี้) เป็นวงกลม อันหมายถึงธรรมจักร คือ การแสดงธรรม ในศิลปะอินเดียนิยมให้พระหัตถ์ซ้ายประคองพระหัตถ์ขวา แต่ในศิลปะไทยนิยมให้ วางพระหัตถ์ซ้ายบนพระเพลา มักมีธรรมจักรกับกวางหมอบ และปัญจวัคคีย์อยู่ด้วยเสมอ หมายถึง พุทธประวัติตอนปฐมเทศนาโปรดปัญจวัคคีย์ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน พระธรรมที่ทรงแสดงเรียกว่า ธัมมจักกัปปวัตนสูตร ๔. ปางทรงแสดงธรรม (วิตรรกมุทรา) พระอิริยาบถยืนหรือนั่ง พระหัตถ์ขวายกขึ้น จีบนิ้วพระหัตถ์พระอังคุฏ และพระดัชนีเป็นวงกลม อันหมายถึงธรรมจักร คือ การแสดงธรรม หากเป็นพระพุทธรูปยืน นิยมแสดงธรรมด้วยพระหัตถ์ขวา พระหัตถ์ซ้ายทรงยึดชายจีวร ส่วนพระพุทธรูปนั่งพระหัตถ์ซ้ายวางบนพระเพลา เป็นการแสดงมุทรา โดยทั่วไปใช้ประกอบตอนใดตอนหนึ่งในพุทธประวัติที่เกี่ยวกับการแสดงธรรม ๕.

centromedica.net, 2024